9 พฤศจิกายน 2556

กลยุทธ์ในการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่แห้งแล้ง

โพสต์นี้ขอเป็นฉบับร่างไปก่อนนะครับ  ถ้าใครเผลอเข้ามาอ่านก็พึงระวังว่าอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในภายหลัง  ความคิดยังไม่ตกผลึกดีนัก

กลยุทธ์ในการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่แห้งแล้งจะบ่งออกเป็นแนวทางหลักๆ ดังนี้ (วันหลังจะวาดเป็นรูปแผนภูมิให้ดูอีกที)

1. เพิ่มการซึมน้ำ
    1.1 เพิ่มเวลาในการซึมน้ำ
         1.1.1 การทำแปลงปลูกแบบ Sunken Basin
         1.1.2 การขุด permaculture swale ตามแนวระดับ
         1.1.3 การขุด diversion swale เพื่อชะลอการไหลของน้ำ
         1.1.4 การทำ terrace
    1.2 ส่งเสริมความสามารถในการซึมน้ำ
         1.2.1 การลดการแตกระแหง
               1.2.1.1 Mulching
               1.2.1.2 การปลูกพืชคลุมดิน
               1.2.1.3 การปลูกพืชแซมระหว่างแถว
               1.2.1.4 การปลูกพืชผสมผสานหลายๆ ชั้น
         1.2.2 การเพิ่มจำนวน/ขนาดของช่อง
               1.2.2.1 Vertical Mulch
               1.2.2.2 Deep Pipe Watering 
               1.2.2.3 การขุดหลุม หรือบ่อซึมน้ำ เช่น infiltration tank, infiltration trench, French Drain เป็นต้น 
               1.2.2.4 การขุดดินแบบลึก (Deep Ploughing)
               1.2.2.5 การปลูกพืชที่มีรากลึก เช่น แฝก, คอมเฟรย์ เป็นต้น 

2. ลดการซึมลงดินชั้นล่าง (water seepage) เช่น เทคนิค Wicking Bed  วิธีการแบบนี้มักจะใช้ในกรณีที่อยู่ในพื้นที่แห้งแล้งมาก และดินเป็นดินทรายเก็บน้ำไม่ค่อยอยู่  น้ำที่รดลงไปจะซึมลงในดินชั้นล่างเป็นส่วนใหญ่  ทำให้เหลือความชื้นสำหรับพืชที่มีรากตื้น (เช่น พืชผักต่างๆ ) ไม่เพียงพอ

3. ลดการระเหย
    3.1 Mulching
    3.2 การปลูกพืชคลุมดิน
    3.3 การใช้วัสดุคลุมดิน เช่น พลาสติก

4. ทำให้รากเจริญลึกขึ้น

5. ใช้พืชทนแล้ง

6. ปรับปรุงการจัดการน้ำโดยรวม 

ติดตามข้อมูลเพิ่มเติมที่ http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=79810.0 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น